การเขียน
การเขียน คือ การแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความต้องการ ของผู้ส่งสารออกไปเป็นลาบลักษณ์อักษร เพื่อให้ผู้รับสาร
สามารถอ่านเข้าใจ ได้รับทราบความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความต้องการเหล่านั้น การถ่ายทอดโดยวิธีบอกเล่าปากต่อปาก หรือที่เรียกว่า
" มุขปาฐะ " อาจทำให้สารตกหล่นหรือคลาดเคลื่อนได้ง่าย ลายลักษณ์อักษรหรือที่ตัวหนังสือ ที่แท้จริงคือเครื่องหมายที่ใช้แทนคำพูดนั่นเอง
ในการเขียนภาษาไทย มีแบบแผนที่ต้องการรักษา มีถ้อยคำสำนวนที่ต้องใช้เฉพาะ และต้องเขียนให้แจ่มแจ้ง เพราะผู้อ่านไม่สามารถไต่ถามผู้เขียน
ได้เมื่อนอ่านไม่เข้าใจ ผู้ที่จะเขียนให้ได้ดี ต้องใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับผู้รับสาร โดยพิจารณาว่าผู้รับสารสามารถรับสารที่ส่งมาได้มากน้อยเพียงใด
รูปแบบการเขียน งานเขียนแบ่งออกเป็น 2 จำพวกได้แก่
งานเขียนร้อยกรองและงานเขียนร้อยแก้ว
งานเขียนที่ต้องใช้มากในชีวิตสังคม คือ
การเขียนจดหมาย
การเขียนจดหมาย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. การเขียนจดหมายส่วนตัว เป็นการเขียนจดหมายส่วนตัวให้แก่ญาติมิตร เพื่อทราบถึงทุกข์สุขของกันและกัน ต้องเขียนตัวอักษรให้เรียบร้อย อ่านง่าย สิ่งที่ไม่ควรลืม คือ การแสดงน้ำใจถึงญาติมิตร
2. จดหมายธุรกิจ เป็นการเขียนจดหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่เป็นการงาน ผู้เขียนจะต้องเขียน ให้ชัดเจน และละเอียด
การสื่อสารผ่านจดหมาย
การเขียนจดหมายเป็นวิธีการที่นิยมใช้เพื่อสื่อสารแทนการพูด เมื่อผู้รับสารและผู้ส่งสารอยู่ห่างไกลกัน หรือมีความจำเป็นบางประการ ที่ทำให้ไม่สามารถพูดจากันได้ นอกจากนี้จดหมายยังใช้เป็นสื่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ไม่รู้จัก และจดหมายอาจใช้เป็นเอกสารสำคัญ สำหรับอ้างเป็นหลักฐานได้อีกด้วย จดหมายที่เขียนส่งไปมาระหว่างกันนี้ มีหลายประเภท ดังนี้
1. จดหมายส่วนตัว เป็นจดหมายที่เขียนถึงกันในวงญาติสนิทมิตรสหาย หรือถึงครูอาจารย์ เพื่อส่งข่าวคราว ไต่ถามมทุกข์สุข แสดงความรักและความระลึกถึงที่มีต่อกัน หรือเล่าเรื่องราวเหตุการณืที่น่ารู้ น่าสนใจให้ฟัง ตลอดจนขอความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
2. จดหมายธุรกิจ เป็นจดหมายที่บุคคลเขียนติดต่อกับบุคคลอืน หรือบริษัท ห้างร้าน องค์กรเพื่อแจ้งกิจธุระ เช่น นัดหมาย ขอความช่วยเหลือ ขอสมัครงาน ขอคำแนะนำเพื่อประโยชน์ในด้านการงานต่างๆ
3. จดหมายธุรกิจ เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อกันในเรื่องเกี่ยวกับพาณิชยกิจและการเงิน ในระหว่างบริษัท ห้างร้านและองค์กรต่างๆ
1. การเขียนจดหมายส่วนตัว เป็นการเขียนจดหมายส่วนตัวให้แก่ญาติมิตร เพื่อทราบถึงทุกข์สุขของกันและกัน ต้องเขียนตัวอักษรให้เรียบร้อย อ่านง่าย สิ่งที่ไม่ควรลืม คือ การแสดงน้ำใจถึงญาติมิตร
2. จดหมายธุรกิจ เป็นการเขียนจดหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่เป็นการงาน ผู้เขียนจะต้องเขียน ให้ชัดเจน และละเอียด
การสื่อสารผ่านจดหมาย
การเขียนจดหมายเป็นวิธีการที่นิยมใช้เพื่อสื่อสารแทนการพูด เมื่อผู้รับสารและผู้ส่งสารอยู่ห่างไกลกัน หรือมีความจำเป็นบางประการ ที่ทำให้ไม่สามารถพูดจากันได้ นอกจากนี้จดหมายยังใช้เป็นสื่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ไม่รู้จัก และจดหมายอาจใช้เป็นเอกสารสำคัญ สำหรับอ้างเป็นหลักฐานได้อีกด้วย จดหมายที่เขียนส่งไปมาระหว่างกันนี้ มีหลายประเภท ดังนี้
1. จดหมายส่วนตัว เป็นจดหมายที่เขียนถึงกันในวงญาติสนิทมิตรสหาย หรือถึงครูอาจารย์ เพื่อส่งข่าวคราว ไต่ถามมทุกข์สุข แสดงความรักและความระลึกถึงที่มีต่อกัน หรือเล่าเรื่องราวเหตุการณืที่น่ารู้ น่าสนใจให้ฟัง ตลอดจนขอความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
2. จดหมายธุรกิจ เป็นจดหมายที่บุคคลเขียนติดต่อกับบุคคลอืน หรือบริษัท ห้างร้าน องค์กรเพื่อแจ้งกิจธุระ เช่น นัดหมาย ขอความช่วยเหลือ ขอสมัครงาน ขอคำแนะนำเพื่อประโยชน์ในด้านการงานต่างๆ
3. จดหมายธุรกิจ เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อกันในเรื่องเกี่ยวกับพาณิชยกิจและการเงิน ในระหว่างบริษัท ห้างร้านและองค์กรต่างๆ
4. จดหมายราชการ ทางราชการเรียกว่า หนังสือราชการ เป็นจดหมายที่ติดต่อกันเป็นทางราชการจากส่วนราชการ
หนึ่ง ถึงส่วนราชการหนึ่ง ข้อความในหนังสือถือว่าเป็นหลักฐานทางราชการและมีสภาพผูกมัดถาวรในราชการ
หนึ่ง ถึงส่วนราชการหนึ่ง ข้อความในหนังสือถือว่าเป็นหลักฐานทางราชการและมีสภาพผูกมัดถาวรในราชการ
การเขียนบันทึก
การเขียนบันทึก
บันทึกเป็นรูปแบบงานเขียน สำหรับสื่อสารภายในวงงานหนึ่ง ๆ ใช้เขียนเรื่องราวที่เป็นธุรกิจวงการ บันทึกที่ใช้เป็นเอกสารที่เปิดเผยส่งจากผู้เริ่มส่งสารผ่านสายงานไปตามลำดับ จนถึงผู้ที่อยู่ในฐานะจะรับสารและลงมือกระทำสิ่งใดที่เป็นจุดหมายของผู้ส่งสาร
บันทึกเป็นรูปแบบงานเขียน สำหรับสื่อสารภายในวงงานหนึ่ง ๆ ใช้เขียนเรื่องราวที่เป็นธุรกิจวงการ บันทึกที่ใช้เป็นเอกสารที่เปิดเผยส่งจากผู้เริ่มส่งสารผ่านสายงานไปตามลำดับ จนถึงผู้ที่อยู่ในฐานะจะรับสารและลงมือกระทำสิ่งใดที่เป็นจุดหมายของผู้ส่งสาร
การเขียนรายงาน คือ การแถลงพฤติกรรมที่ได้เกิดขึ้นให้ผู้ใดผู้หนึ่งหรือบุคคลคณะใดคณะหนึ่ง รายงานเขียนได้หลายแบบ เขียนเป็นรายงานโดยตรงแบ่งออกเป็นตอนเล็ก ตอนใหญ่ เพื่อให้ผู้รับสารรับได้สะดวก หรืออาจเขียนเป็นรูปบันทึก หรือจดหมายก็ได้ แล้วแต่ความประสงค์ที่จะใช้รายงานและเขียนด้วยสำนวนที่มีความหมายตรง ๆ หรืออาจเขียนเป็นสำนวนการประพันธ์
การเขียนบันทึกที่มีประสิทธิภาพ ย่อมขึ้นอยู่กับผู้เขียนในฐานะที่เป็นผู้ส่งสารสำคัญ ผู้เขียนจำเป็นต้องมีความสามารถ
หลายอย่างประกอบกัน ดังนี้
หลายอย่างประกอบกัน ดังนี้
1. มีความรู้ดีพอในเรื่องที่ตนเขีนยและมีวัตถุประสงค์แจ่มแจ้ง ว่าตนส่งสารเพื่อเหตุใดและใครให้ผู้รับสารรับได้ว่าสารของตนคืออะไร
2. เลือกรูปแบบที่เหมาะกับเนื้อหา เช่น การเขียนอวยพรปีใหม่อาจเขียนเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ก็ได้
3. ใช้ถ้อยคำสำนวนที่เหมาะสมกับเนื้อหา
4. ใช้ถ้อยคำสำนวนที่มีวความหมายชัดเจน 5. ใช้ถ้อยคำสำนวนที่ยอมรับว่าสุภาพ
2. เลือกรูปแบบที่เหมาะกับเนื้อหา เช่น การเขียนอวยพรปีใหม่อาจเขียนเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ก็ได้
3. ใช้ถ้อยคำสำนวนที่เหมาะสมกับเนื้อหา
4. ใช้ถ้อยคำสำนวนที่มีวความหมายชัดเจน 5. ใช้ถ้อยคำสำนวนที่ยอมรับว่าสุภาพ
การฝึกทักษะการเขียน ประกอบด้วย
1. กระบวนการเขียนภาษาไทยที่ดี
2. กระบวนการคิดเพื่อสื่อสารให้เกิดประสิทธิผล
1. กระบวนการเขียนภาษาไทยที่ดี
2. กระบวนการคิดเพื่อสื่อสารให้เกิดประสิทธิผล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น